วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556

การสร้างภาพเคลื่อนไหว

frame 
                การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ  Frame by Frame  คือ การกำหนดการเปลี่ยนแปลงของออบเจ็กต์ที่แตกต่างกันในทุก ๆ คีย์เฟรม เหมาะสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีความซับซ้อนมากๆ แต่ก็มีข้อเสียเพราะภาพจะมีขนาดใหญ่กว่าการทำภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween
ตัวอย่างการทำภาพเคลื่อนไหวแบบ  Frame by Frame
                1. สร้างไฟล์เอกสารใหม่ โดยคลิกเมนู File => New
                2. ให้ไปยืมให้ Libraly จากไฟล์อื่น
                พอเปิด Libraly ขึ้นมาให้ทำการลาก symbol จาก Libraly จาก Bitmap2 มาวางบนพื้นที่ว่าง
frame1
                                       จะได้ดังภาพ
frame2
                                      เสร็จแล้วมาคลิกขวาที่ เฟรม 2   แล้วเลือก Insert KeyFarme
frame3
                                      เสร็จแล้วให้ทำการลบภาพ ที่อยู่บนพื้นที่  Stage ออกไป
frame5
                                         แล้วนำภาพ ที่ Libraly ที่ชื่อ Bitmap 3 มาวาง แล้วให้ทำการ Insert Kiyfarme ที่เฟรมที่ 3  และลบภาพที่                                        Stage ออก แล้วนำภาพที่ Libraly ที่ชื่อ Bitmap 4 ทำแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึง เฟรมที่ 5
frame5
frame6
                                     เมื่อทำครบทั้ง 5 เฟรมเรียบร้อยแล้วแล้วให้คลิกเลือกที่ Onion Skin จะเกิดภาพราง ๆ ขึ้น
frame7
                                      แล้วลากภาพมาวางในจุดเดียวกันให้เรียบร้อย
frame8
                                     เสร็จแล้วให้ทำการรัน ดู โดยการคลิกเลือกที่ Control => Test Movie
frame9
                                      ผลรันที่ได
top
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween
            การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween เป็นการสร้างภาพเคลื่อนไหวจากเฟรมเบื้องต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งโปรแกรมจะสร้างการเปลี่ยนแปลงระหว่างเฟรมให้โดยอัตโนมัติ นั่นคือ การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะมีการสร้างเฟรมเพียง 2 เฟรม คือเฟรมเบื้องต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งคุณสมบัตินี้เองที่ทำให้ภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween ซึ่งมีขนาดไฟล์ที่เล็กกว่าการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame-by-Frame

ลักษณะเฟรมของการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween
            การสร้างภาพเคลื่อนไหวในลักษณะต่าง ๆ จะปรากกฎรูปแบบและสีบนส่วนของเฟรมบนจอภาพ Timeline ในลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนี้
Motion Tween
            ใช้สำหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนตำแหน่ง ขนาด หรือหมุนออบเจ็กต์ ตามต้องการ โดยจะมีลักษณะเป็นจุดสีดำที่คีย์เฟรมเริ่มต้นและคีย์เฟรมสุดท้าย มีสีพื้นระหว่างคีย์เฟรมเป็นสีม่วงและมีรูปลูกศรทีมีปลายหัวลูกศรอยู่ที่ที่คีย์เฟรมสุดท้าย
 Motion 
เป็นการสร้างภาพเคลื่อนไหว ที่มีการเคลื่อนกำหนดการเคลื่อนที่ หมุน ย่อ หรือขยายให้กับออบเจ็กต์, Instance,group หรือ Text black ก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถแก้ไขคุณสมบัติของออบเจ็กต์ในแต่ละช่วงได้อีกด้วย
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween เป็นรูปแบบการสร้างภาพเคลื่อนไหวทีใช้มากที่สุดและโปรแกรมจะกำหนดรูปแบบชนิดนี้เป็นค่าเริ่มต้นของการสร้างภาพเคลื่อนไหวทุกครั้ง  โดยโปรแกรมจะสร้างภาพเคลื่อนไหวและเส้นทางการเคลื่อนที่ให้เองโดยอัตโนมัติ
ตัวอย่างการทำภาพเคลื่อนไหวแบบ  Motion Tween
  1. สร้างไฟล์เอกสารใหม่ โดยคลิกเมนู  File => New
  2. ให้ไป Save รูปภาพที่ต้องการเก็บไว้ใน Library จากนั้นให้ทำการลาก Symbol จาก Library มาวางบนพื้นที่ว่าง
motion1
                          จะได้ดังภาพ
motion2
                             เสร็จแล้วมาคลิกขวาที่ เฟรม  แล้วเลือก Insert KeyFarme
    motion3
                                เสร็จแล้วทำการย้ายภาพไปยังอีกจุดหนึ่งที่ต้องการ
      motion4
                                 จะได้ดังภาพ
      motion5
                                 คลิกขวาระหว่างเฟรม แล้วเลือก Create Motion Tween
      motion6
                                 เสร็จแล้วให้ทำการรัน ดู โดยการ  กด Ctrl + Enter 
      motion7
                                 ผลรันที่ได้
      top
       shape 
      เป็นการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของออบเจ็กต์ จากรูปทรงหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งโดยสามารถกำหนด ทิศทาง ตำแหน่ง ขนาด และสีของการเปลี่ยนแปลงได้ตามต้องการ
                      ออบเจ็กต์ที่สามารถนำมาสร้างการเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween ได้ตามรูปทรงธรรมดา เช่น รูปทรงที่ผู้ใช้วาดขึ้นเอง นั่นคือ จะไม่สามารถใช้ Instance, Text Block หรือกลุ่มออบเจ็กต์ในการสร้างได้ แต่ถ้าผู้ใช้ต้องการนำออบเจ็กต์ดังกล่าวมาใช้สร้างการเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween จะต้องเปลี่ยนให้กลายเป็นรูปทรงธรรมดาก่อน โดยใช้คำสั่ง Break apart
      ตัวอย่าง
                                  เลือกเครื่องมือ Rectangle Tool นำมาวาดที่พื้นที่ Stageดังรูป
      shape1
                                 เลือก เฟรมที่ 20 แล้วทำการ Insert KeyFarme
      shape2
                                  ทำการตัดภาพสี่เหลี่ยมสีแดง ที่ Stage ออกไป
      shape3
                                   แล้วเลือกเครื่องมือ Brush Tool วาดรูปตัวอักษร
      shape4
                                   เลือกเหตุการณ์ ที่ Panal Properties เป็นแบบ Shape Tween
      shape5
                                   สังเกตดูที่เฟรมจะมี animation แบบ Shape Tween เกิดขึ้น
      shape6
                                  ทำการรันโปรแกรมที่สร้างขึ้น โดยการคลิก Control => Test Movie
      shape7
                                      ผลรันที่ได้
      top
       guide 
                    การสร้าง Motion Guide คือ การวาดเส้นด้วยออบเจ็กต์ Drawn เช่น Pen tool หรือ Line Tool เป็นต้น ไว้ในเลเยอร์ไกด์ เพื่อใช้เป็นเส้นทางในการเคลื่อนที่ให้กับออบเจ็กต์ที่ระบุไว้ หลักสำคัญคือต้องเคลื่อนย้ายออบเจ็กต์ที่สร้างการเคลื่อนที่แบบ Motion Tween ให้เข้าประชิด (snap) กับเส้นไกด์ นอกจากนี้ ต้องเชื่อมโยงออบเจ็กต์ที่จุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายกับเส้นไกด์ด้วย
      ตัวอย่างการสร้าง Motion Guid
      จากเมนู File => New เพื่อเปิดไฟล์ใหม
      Guide1
      เข้าไปที่ Insert => New Symbol
      Guide2
      ตั้งชื่อที่เราต้องการ ในตัวอย่าง ตั้งชื่อ ปลาโลมา กำหนด Behavior เป็นแบบ Graphic แล้วคลิก OK
      Guide3
      เสร็จแล้ววาดภาพปลาโลมา
      Guide4
      กลับมาที่หน้าจอ Sene 1 เสร็จแล้วทำการ Add Motion Guide
      Guide5
      จะเพิ่มเส้น Guide ขึ้นมาที่ Layer ให้เปลี่ยน Layer 1 เป็นปลาโลมา
      Guide6
      คลิกที่ Frame ที่ 1 ของ Guide Layer 1 เลือกเครื่องมือ Pen Tool นำมาวาดที่ ชิ้นงาน
      Guide7
      คลิกที่ Frame  ที่ 30 ของ Guide Layer คลิกขวา เลือก Insert Frame
      Guide8
      เสร็จแล้วมาคลิกที่ Frame ที่ 1 ของ ปลาโลมา
      ฌีรกำต
      เสร็จแล้วไปที่ Window => Library ลากปลาโลมา มาวางที่ชิ้นงาน
      Guide10
      คลิกเลือก Frame ที่ 30 ของ Layer ปลาโลมา คลิกขวาแล้วเลือก Insert Key Frame
      Guide11
      แล้วลากปลาโลมา มาวางไว้ที่ปลายเส้น Guide
      Guide12
                                            คลิกขวาเลือก Create Motion Tween
      Guide13
                                             คลิกเลือก Frame ที่ 1 ของ จรวด แล้วคลิกเครื่องหมายถูกหน้าช่อง Orient to path ดังรูป
      Guide14
                                          คลิกเลือกเครื่องหมาย Free Transform Tool  เสร็จแล้วปรับหัวจรวดให้เป็นไปตามเส้น Guide
      Guide15
                                          เสร็จแล้วให้ทำการ เลือก Control => Test Movie           จะได้ผลรันดังนี้
      www   โดย  .caistudio.info/cai/techno/animation/FlashAnt.html
      top
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น